Gamification
คือแนวคิดที่นำเอาทฤษฎีของเกม
เทคนิคการออกแบบเกม (เช่น การสะสมแต้ม (Score) การเลื่อนระดับ (Level) การบ่งบอกระดับ (Badges or Achievements) เงินตราเสมือน
(Virtual currency) ของรางวัล (Gifting) การซื้อขาย/แลกเปลี่ยน (Trading) และเทคนิคอื่น
ๆ ที่ใช้ในเกมมาใช้ในการออกแบบการเรียนการสอน
เพื่อกระตุ้นความสนใจในการเรียนรู้ โดยทำให้การเรียนรู้เป็นเสมือนเกมการแข่งขัน
ระบบจะแสดงให้เห็นว่า ตอนนี้เรามีคะแนนในการเรียนรู้เท่าไรเมื่อเทียบกันคนอื่น
ใครกำลังเป็นผู้ทำคะแนนนำอยู่ และเมื่อครบตามเวลาที่กำหนดไว้ ใครที่มีคะแนนสูงสุด
ก็จะมีการให้รางวัล
พร้อมกันนั้นยังได้รับการจารึกชื่อไว้เสมือนการประกาศศักดาให้รู้ว่าใครใคะแนนสูงสุด
ที่สำคัญต้องพยายามรักษาตำแหน่งแชมป์นี้ไว้ให้ได้
ในขณะเดียวกันระบบก็จะเชิญชวนให้คนอื่นๆ อยากจะเข้ามา “ล้มแชมป์”
ในการเรียนรู้ด้วย รวมทั้งมีฟิตแบก
เพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียนกลับมาเล่นซ้ำอีกหลายๆ ครั้ง
กลไกของเกมที่ใช้ในแนวคิด Gamification
1.
คะแนนสะสม (Points)เป็นสิ่งที่ใช้วัดความสำเร็จจากการใช้งาน
ซึ่งคะแนนมักจะถูกกำหนดไว้ในการทำกิจกรรมต่างๆ และจะสะสมไปเรื่อยๆ
ในช่วงระยะเวลาหนึ่ง
2.
เหรียญตราสัญลักษณ์ (Badges)เป็นเสมือนของที่บ่งบอกถึงความพิเศษบางอย่าง
ซึ่งต้องทำตามกิจกรรมพิเศษที่กำหนดไว้ หรือมีเงื่อนไขพิเศษในการได้มา อย่างเช่น Badge
ที่ได้รับเมื่อมีการ Check-in ใน Foursquare
3.
ระดับขั้น (Levels)พบเห็นได้ในเกมเกือบทุกเกมคือ
มีระดับความยากที่เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ
เพื่อให้ผู้เล่นรู้สึกว่าต้องใช้ความพยายามในการเอาชนะ และเมื่อชนะได้
จะเกิดความภูมิใจ ซึ่งเป็นเหมือนความสำเร็จเล็กๆ ในการเล่น
4.
ตารางอันดับ (Leaderboard)เป็นการจัดอันดับจากคะแนนสะสมในช่วงเวลาหนึ่ง
เพื่อกระตุ้นให้เกิดการแข่งขันขึ้นมาระหว่างผู้เล่นภายในเกม ตัวอย่างของ Foursquare
ก็คือการจัดอันดับตามคะแนน Check-in ของแต่ละเมือง
5.
การถูกท้าทาย (Challenges)มักจะเป็นอะไรที่ยากเกินกว่าจะทำคนเดียวได้
คล้ายกับเป็นการชักชวนกลุ่มเพื่อนให้มาทำกิจกรรมบาง
องค์ประกอบของ
Gamification
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น